อ้างอิงมาจากหนังสือสวดมนต์
-จากหนังสือตำราพรหมชาติ
-หนังสือรวมพระคาถาศักสิทธิ์
อิติปิโสธงชัย
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
อิติปิโสนะวะหอระคุณ
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา
อิติปิโสแก้นะวะหอระคุณ
1. อะระหัง อะ(แก้อะระหัง) - อะระกัตตากิเลเสหิ สาวาสะเนหิ สัพพะปูชาระ วิทิโต อะระหังอิติฯ
2. สัมมาสัมพุทโธ สัง(แก้สัมมาสัมพุทโธ) - สัมมา สามัญจะ สัจจานิ พุทโธจะ อัญญะโพธะโน เตเนสะ สัมมาสัมพุทโธ สัพพะธัมเมสุ จักขุมาฯ
3. วิชชาจะระณะสัมปันโน วิ(แก้วิชชาจะระณะสัมปันโน) - วิชชาหิ จะระเณเหสะ สัมมะเทวะสะมาคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโน อุตตะโม เทวะมานุเสฯ
4. สุคะโต สุ(แก้สุคะโต) - สัพพะเกลละสัพปะหาเนนะ คะโตสุคะโต กาเยนะ วาจายะ มะนะสา สุคะโต คะโตฯ
5. โลกะวิทู โล(แก้โลกะวิทู) - โลกัง วิภูคะโต สัพพัง ญาเณนัญญาสิ สัพพะกา นาโถโลกัสสะ สัมมาวะ เตนะ โลกะวิทู ชิโนฯ
6. อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ ปุ(แก้อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ) - สาเรตา นะระทัมมานัง อะกุปปายะ วิมุตติยัง ตะโต อะนุตตะโร นาโถ ปุริสะทัมมะสาระถิฯ
7. สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะ(แก้สัตถา เทวะมะนุสสานัง) - โลกิเยหิ จะ อัตเถหิ อะโถ โลกุตตะเรหิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง สาสิตาเทวะมานุเสฯ
8. พุทโธ พุ(แก้พุทโธ) - สัมพุชฌิตาจะ สัจจานิ เกลละสะนิททา ปะพุชฌิตา สัพพะโส คุณะวิกาสัมปัตโต พุทโธ นะรุตตะโมฯ
9. ภะคะวา ภุ(แก้ภะคะวา) - ภาเคยะนะ ภะคะธัมเมหิ สะมังคีจาตุโล มุนิ คะรุคาระ วะยุตโตจะ วิสสุโต ภะคะวา อิติฯ
- หัวใจพระอิติปิโส
อะสังวิสุโลปุสะพุภะ (เอาตัวหน้าของอิติปิโสมารวมกัน)
อิติปิโส(เต็มที่)
อิติปิโส ภะคะวา - เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง - เป็นผู้ไกลจากกิเลส
อิติปิโส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ - เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
อิติปิโส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน - เป็นผู้พร้อมด้วยวิชาและจรณะ
อิติปิโส ภะคะวา สุคะโต - เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี
อิติปิโส ภะคะวา โลกะวิทู - เป็นผู้รู้โลกแจ่มแจ้ง
อิติปิโส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ - เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึก ไม่มีใครยิ่งกว่า
อิติปิโส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง - เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
อิติปิโส ภะคะวา พุทโธ - เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
อิติปิโส ภะคะวา ภะคะวาติ - เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรม สั่งสอนสัตว์
อิติปิโส 8 ทิศ 8 ด้าน
- อิติปิโส 8 ทิศ 8 ด้าน เริ่มด้วย "อิ" ไล่ลงมาเป็นแถวที่ 1 แล้วขึ้นแถวใหม่จนจบ
อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา (อิ)
ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง (ติ)
ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท (ปิ)
โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ (โส)
ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ (ภะ)
คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ (คะ)
วา โธ โน อะ มะ มะ วา (วา)
อะ วิช สุ นุต สา นุส ติ (อะ)
- อิติปิโสเรือนเตี้ย (มงกุฎพระพุทธเจ้า)
อิติปิโสวิเสเส อิอิเสเสพุทธะนาเม อิอิเมนาพุทธะตังโส อิอิโสตังพุทธะปิติอิ
หมายเตุ จะมี 32 อักขระ เปรียบเหมือนอาการ 32 ของพระพุทธเจ้า
- อิติปิโส (ตามทิศ)เจ็ดแบก
๑. อิระชาคะตะระสา เรียกว่า กระทู้ ๗ แบก คุ้มทิศบูรพา เสกเป่าพิศสัตว์กัดต่อย
๒.ติหังจะโตโรถินัง เรียกว่า ฝนแสนห่า คุ้มทิศอาคเนย์ บทนี้ทำน้ำมนต์ รดคนเจ็บไข้ได้ป่วย
๓.ปิสัมระโลปุสัตพุธ เรียกว่า นารายณ์เกลื่อนสมุทร คุ้มทิศทักษิน ภาวนากันภูตผีปีศาจ
๔.โสมานะกะริถาโธ เรียกว่า นารายณ์คลายจักร คุ้มทิศหรดี เสกสวด108 คาบทำน้ำมนต์ ไล่ผี หรือคนท้องกินคลอดลูกง่าย
๕. ภะสัมสัมวิสะเทภะ เรียกว่า นารายณ์ขว้างจักรไตรตรึงภพ คุ้มทิศประจิมเสกพรมร่างคนไข้ ไล่ภูพผีปีศาจ
๖.คะพุทปันทูธัมวะคะ เรียกว่า นารายณ์พลิกแผ่นดิน เสกน้ำมนต์ป้องกันผีเจ้าเข้าทรง หรือถูกคุณกระทำชะงักนัก
๗.วาโธโนอะมะมะวา เรียกว่า ตวาดป่าหิมพานต์ คุ้มทิศอุดร เสกด้าย หวาย มีด ข้าวสาร ขับไล่ผี ผีป่าเวลาเดินทาง
๘.อะวิชสุนุตสานุสติ เรียกว่า นารายณ์แปลงรูป คุ้มทิศอีสาน เสกเป่าตัวเอง เวลาออกจากบ้านแคล้วคลาด..
กระทู้เจ็ดแบก อาจารย์จําแนกไว้บูชา เสกข้าวกินทุกวัน อาจป้องกันเครื่องศาสตรา อนึ่งภาวนา แล้วหันหน้าสู่ช้างสาร อาจหักงวงคชา ด้วยพลาอันห้าวหาญ มีกําลังเหลือประมาณ ยิ่งช้างสารอันตกมัน ฤษีทั้ง7องค์ ท่านดํารงอยู่ทิศนั้น เมื่ออภิวันท์ หันพักตร์นั้นทางทิศบูรพา
อาคเนย์ฝนแสนห่า ใช้ภาวนาคราเดินทาง ถึงเดินสิ้นทั้งวัน เรื่องนํ้านั้นอย่าระคาง เสกหมากรับประทานพลาง สิบห้าคําอ้างกินเรื่อยไป แม้นใคร่ให้มีฝน อย่าร้อนรนจงใจเย็น ให้เสกไส้เทียนชัย เสกให้ได้แสนเก้าพัน แล้วให้นึกเทเวศ ผู้เรืองเดชในสวรรค์ อิทรพรหมสิ้นด้วยกัน ตลอดจนถึงชั้นอะกะนิฏฐ์ ฝนก็จะตกหนัก เพราะอารักษ์อันศักดิ์สิทธิ์ ถ้ามีโรคอันวิปริต จงพินิจพิจารณา เอาทํานํ้ามนต์ แล้วพรํ่าบ่นด้วยคาถา เสกพ่นสัก7ครา มิทันช้าก็จักหาย อาคเนย์นามทิศศา จงหันหน้าไปโดยหมาย เคารพครูบรรยาย แล้วจึงร่ายคาถาเอย
นารายณ์กลืนสมุทร์ ฤทธิรุททิศทักษิณ เรื่องฝีเกลื่อนหายสิ้น ไม่ต้องกินเสกพริกไทย เจ็ดเม็ดเสกเจ็ดหน แล้วจงพ่นลงทันใด สามครั้งก็จะหาย สมดังใจจํานง อนึ่งใช้เสกปูน สําหรับสูญฝีหัวลง มิช้าฝีก็คง ยุบย่อลงในบัดใด ภาวนาลงกระดาษ อย่าประมาทจงตั้งใจ ฟั่นเทียนเอาทําไส้ เทียนนั้นไซร้หนึ่งบาทหนา ลงคาถาล้อมให้รอบ ตามระบอบอย่ากังขา เท่ากําลังเทวดา ตามชันษาผู้เป็นไข้ แล้วจุดบูชาพระ อย่าได้ละภาวนาไป มิช้าไข้นั้นไซร้ จะหายดังปลิดทิ้ง
หรดีพึงสําเหนียก มีชื่อเรียกเป็นสองอย่าง คือนารายณ์คลายจักรอ้าง กับอีกทั้งพลิกแผ่นดิน มีฤทธิ์และศักดา ทั้งเดชาและโกสินทร์ ภาวนาเป็นอาจิณ ยําเกรงสิ้นเหล่าศัตรู รําลึกแต่ในใจ ข้าศึกไซร้ปืนสู้ หย่อนกําลังพรั่งพรู ไม่คิดสู้เราต่อไป ถึงแม้คนใจกล้า พอเห็นหน้าก็อ่อนไป ครูเฒ่าท่านสอนไว้ แม้สิ่งใดมีประสงค์ สิ่งนั้นพลันต้องได้ สมดังใจจํานง เพราะคาถาเป็นมั่นคง อย่างวยงงจงบูชา คุณครูผู้บรรยาย ท่านเร่ย้ายหรดีทิศา เมื่อจะภาวนา จงหันหน้าทางนั้นเอย
ทิศประจิมนามประหลาด ชื่อตวาดหิมพานต์ มีเดชอันห้าวหาญ ดุจช้างสารไม่กลัวตาย พบช้างและปะเสือ ที่ดุเหลือทั้งโคควาย อีกทั้งโจรดุร้าย ก็อย่าได้นึกกลัวมัน จงนิ่งภาวนา พระคาถาไปฉับพลัน เป็นมหาจังงังอัน วิเศษยิ่งอย่ากริ่งใจ สัตว์ร้ายและคนพาล ไม่อาจหาญเข้ามาใกล้ ให้แคล้วให้คลาดไป จงท่องไว้ทั้งเช้าคํ่า อนึ่งเมื่อภาวนา จงหันหน้าอย่าถลํา ทิศประจิมจงจดจํา ดังแนะนําดังนั้นเอย
พายัพนามทิศ มหิทฤทธิ์นั้นมากนัก ชื่อว่านารายณ์กลืนจักร์ มีฤทธิ์ศักดิ์นั้นย้อนยอก ครูเฒ่าท่านกล่าวมา ถ้าแม้นลูกไม่ออก เอานํ้าใส่ขันจอก แล้วเปล่งออกซึ่งวาจา เสกนํ้าทํานํ้ามนต์ ร้อยแปดหนด้วยคาถา ให้กินอย่ารอช้า พรหมกายาตลอดศรีษ์ บุตรน้อยจะค่อยเคลื่อน ขยัยเขยื้อนเคลื่อนอินทรีย์ เสดาะเสกวารี หากไม่มีนํ้ากระสาย จงเป่าด้วยคาถา ไม่ทันช้าหลุดกระจาย ครูประสิทธิ์บรรยาย ท่านเร่ย้ายอยู่พายัพ เพื่อเป็นการคํานับ ตามตําหรับอาจารย์เอย
นารายณ์ขว้างจักร์นี้เลิศลบ อีกนามหนึ่งตรึงไตรภพ สองชื่อย่อมลือจบ ทั่วพิภพเรืองเดชา ภาวนาสูดลมไป ว่าให้ได้สักสามครา คอยดูที่ฉายา ถ้าเห็นเงาว่าหายไป ครานั้นจงชื่นชม คนนับหมื่นหาเห็นไม่ บังตาหายตัวได้ ครูกล่าวไว้เร่งบูชา หันพักตร์สู่อุดรทิศ แล้วตั้งจิตภาวนา ตามบทพระคาถา ที่กล่าวมาแต่ต้นเอย
อิสานนามแถลง นารายณ์แปลงรูปโดย หมาย ภาวนาอย่าระคาย ศัตรูร้ายแปลกเราไป เมื่อจะเสดาะแล้วไซร้ เสกให้ได้ร้อยแปดคาบ ตั้งใจให้แน่วแน่ ครั้นถ้วนแล้วเป่ากระหนาบ ต้องหลุดอย่างราบคาบ ได้เคยปราบเห็นประจักษ์ ถ้าชอบทางเสน่ห์ ทําเป็นเล่ห์ให้เขารัก นํ้าหอมอย่าหอมนัก จงรู้จักที่อย่างดี แล้วเสกให้บ่อยๆ อย่างน้อยๆ108ที แล้วเก็บไว้ให้ดี ถึงคราวที่จะต้องใช้ เสกอีกสักเจ็ดหน ประกายตนแล้วจึงไป เป็นเสน่ห์แก่ผู้ใช้ ทั้งหญิงชายทุกภาษา ไม่ว่าคนชั้นไหน แต่พอได้เห็นพักตรา ให้รักด้วยเมตตา ประหนึ่งว่าเป็นลูกหลาน แคล้วคลาดเหล่าศัตรู สิ้นทั้งหมู่อันธพาล ครูอยู่ทิศอิสาน จงนมัสการและบูชาเอย
อิติปิโสแปลงรูป
กะ วิ โล ทู โต อะ คะ นุต สุ ตะ โน โร ปัน ปุ
สัม ริ ณะ สะ ระ ทัม จะ มะ ชา สา วิช ระ โธ ถิ
พุท สัต สัม ถา มา เท สัม วะ หัง มะ ระ นุส อะ สา
วา นัง คะ พุท ภะ โธ โส ภะ ปิ คะ ติ วา อิ ติ
(เริ่มจากก่อนตัวท้ายสุดหนึ่งตัวมายังจุดเริ่มต้น อ่านสลับตัว)
อิติปิโสตรึงไตรภพ
อิ ติ ติ วา ปิ คะ โส ภะ ภะ โธ คะ พุท วา นัง
อะ สา ระ นุส หัง มะ สัม วะ มา เท สัม ถา พุท สัต
โธ ถิ วิช ระ ชา สา จะ มะ ระ ทัม ณะ สะ สัม ริ
ปัน ปุ โน โร สุ ตะ คะ นุต โต อะ โล ทู กะ วิ
(เริ่มจากจุดเริ่มต้นมายังจุดท้าย อ่านสลับตัว)
อิติปิโสนารายณ์คลายจักร
ติ อิ วา ติ คะ ปิ ภะ โส โธ ภะ พุท คะ นัง วา
สา อะ นุส ระ มะ หัง วะ สัม เท มา ถา สัม สัต พุท
ถิ โธ ระ วิช สา ชา มะ จะ ทัม ระ สะ ณะ ริ สัม
ปุ ปัน โร โน ตะ สุ นุต คะ อะ โต ทู โล วิ กะ
(เริ่มจากจุดถัดจากจุดเริ่มต้นมาจุดท้าย อ่านสลับตัว)
- อิติปิโสถอยหลัง
ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต
ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ
กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ
พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ
(อ่านถอยหลังจากจุดท้ายมายังจุดเริ่มต้น)
อิติปิโสย้ายรูป
อิ ติ คะ วา โธ วิช กะ วิ
ปิ ภะ อะ พุท ชา โล ทู ระ
โส ระ สัม จะ โต อะ สา ถิ
หัง มา ระ คะ นุต มะ สัต นัง
สัม ณะ สุ ตะ ทัม ถา สา พุท
สัม โน โร สะ เท นุส โธ วา
ปัน ปุ ริ วะ มะ ภะ คะ ติ
(จากจุดเริ่มต้นอ่านเฉียงขึ้นบนลงล่างไปมาทางขวาไปยังจุดสุดท้ายจนจบ)
- อิติปิโสย้ายรูปถอยหลัง
ติ วา พุท นัง ถิ ระ วิ กะ
คะ โธ สา สัต สา ทู โล วิช
ภะ นุส ถา มะ อะ โต ชา โธ
มะ เท ทัม นุต คะ จะ พุท วา
วา สะ ตะ สุ ระ สัม อะ คะ
ริ โร โน ณะ มา ระ ภะ ติ
ปุ ปัน สัม สัม หัง โส ปิ อิ
(จากจุดท้ายสุดอ่านเฉียงขึ้นบนลงล่างไปมาทางซ้ายไปยังจุดเริ่มต้นจนจบ)
- อิติปิโสภุชฌงค์ซ่อนหัว
ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง
อะ ทู วิ กะ โล โต สา
นุต สัม มา สัม หัง คะ นุส
ตะ พุท ปิ ติ ระ สุ มะ
โร โธ โส อิ อะ โน วะ
ปุ วิช ภะ คะ วา ปัน เท
ริ ชา จะ ระ ณะ สัม ถา
สะ ทัม มะ สา ระ ถิ สัต
(เริ่มจากตรงกลางอ่านทวนเข็มนาฬิกาไล่ไปจนถึงขอบจนจบ)
อิติปิโสภุชฌงค์ซ่อนหาง
อิ ติ ปิ โส ภะ คะ วา
โต โล กะ วิ ทู อะ อะ
คะ ถา เท วะ มะ นุต ระ
สุ สัต คะ วา นุส ตะ หัง
โน ถิ ภะ ติ สา โร สัม
ปัน ระ โธ พุท นัง ปุ มา
สัม สา มะ ทัม สะ ริ สัม
ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท
(เริ่มจากจุดเริ่มต้นอ่านตามทวนเข็มนาฬิกาไล่ไปหาตรงกลางจนจบ)
อิติปิโสนารายณ์บรรทมสินธุ์
ปุ ริ มะ นุส ปิ โส ภะ คะ
โร สะ วะ สา ติ ระ จะ วา
ตะ ทัม เท นัง อิ ณะ ชา อะ
นุต มะ ถา พุท ติ สัม วิช ระ
อะ สา สัต โธ วา ปัน โธ หัง
ทู ระ ถิ ภะ คะ โน พุท สัม
วิ กะ โล โต คะ สุ สัม มา
(เริ่มจากตรงกลางไล่ขึ้นบนอ้อมขวาลงล่างเก็บด้านขวาให้หมด แล้วอ้อมขอบขึ้นซ้ายแล้วเก็บซ้ายให้หมด)
อิติปิโสนารายณ์บรรทมสินธุ์ถอยหลัง
มา สัม สุ คะ โต โล กะ วิ
สัม พุท โน คะ ภะ ถิ ระ ทู
หัง โธ ปัน วา โธ สัต สา อะ
ระ วิช สัม ติ พุท ถา มะ นุต
อะ ชา ณะ อิ นัง เท ทัม ตะ
วา จะ ระ ติ สา วะ สะ โร
คะ ภะ โส ปิ นุส มะ ริ ปุ
(เริ่มจากตรงกลางไล่ลงอ้อมซ้ายลงล่างเก็บด้านซ้ายให้หมด แล้วอ้อมขอบขึ้นขวาแล้วเก็บขวาให้หมด)
อิติปิโสถอยหลัง 3 ห้อง
ติ สา กัส โล ตัง เขต ญัก ปุญ รัง
ตะ นุต อะ โย ณี ระ กะ ลี ชะ
อัญ โย เณย ขิ ทัก โย เนย หุ ปา
โย เนย หุ อา โฆ สัง กะ วะ สา
โต วะ คะ ภะ สะ เอ ลา คะ ปุค
สะ ริ ปุ ฐะ อัฐ นิ คา ยุ สะ
ริ ปุ ริ ตา จัต ทัง ทิ ยะ โฆ
สัง กะ วะ สา โต วะ คะ ภะ โน
ปัณ ฏิ ปะ จิ มี สา โฆ สัง กะ
วะ สา โต วะ คะ ภะ โน ปัน ฏิ
ปะ ยะ ญา โฆ สัง กะ วะ สา โต
วะ คะ ภะ โน ปัน ฏิ ปะ ชุ อุ
โฆ สัง กะ วะ สา โต วะ คะ ภะ
โน ปัน ฏิ ปะ สุ ติ หี ญู วิญ
โฑ ตัพ ทิ เว ตัง จ้ต ป้จ โก ยิ
นะ ปะ โอ โก สิ ปัส หิ เอ โก
ลิ กา อะ โก ฐิ ทิฏ สัน โม ธัม
ตา วะ คะ ภะ โต ขา สวาก ติ วา
คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ
เท คา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ
ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ
โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ
จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง
ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ
อิติปิโสรัตนมาลา 108 คาถาบท
โดยนำอิติปิโสแบบเต็มมาขยายความหมายของแต่ละคำ
พระพุทธคุณ 56
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน
สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ
(1) อิฏโฐ สัพพัญญุตะญานัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง
อิฏฐัง ธัมมัง อะนุปปัตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง
(2) ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
ติสโส ภูมิ อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง
(3) ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโย พรัหมานะมุตตะโม
ปิโย นาคะสุปัณณานัง ปิณินทะริยัง นะมามิหัง
(4) โสกา วิรัตตะจิตโต โย โสภะมาโน สะเทวะเก
โสกัปปัตเต ปะโมเทนโต โสภะวัณณัง นะมามิหัง
(5) ภะชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา
ภะยะสัตเต ปะหาเสนะโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง
(6) คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปิโต สะเทวะกัง
คัจฉะมาโน สิวัง รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามิหัง
(7) วานา นิกขะมิ โย ตัณหา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง
วานะนิพพานะมัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง
(8) อะนิสสาสะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โย ชิโน
อะนันตะคุณะสัมปันโน อันตะคามัง นะมามิหัง
(9) ระโต นิพพานะสัมปัตเต ระโต โย สัตตะโมจะเน
รัมมาเปตีธะ สัตเต โย ระณะจัตตัง นะมามิหัง
(10) หัญญะติ ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง
หังสะมานัง มะหาวีรัง หันตะปาปัง นะมามิหัง
(11) สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมา เทเสสิ ปาณินัง
สังสารัง สังวิฆาเฏติ สัมพุทธันตัง นะมามิหัง
(12) มาตาวะ ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโต
มานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง
(13) สัญจะยัง ปารมี สัมมา สัญจิตวา สุขะมัตตะโน
สังขารานัง ขะยัง ทิสวา สันตะคามิง นะมามิหัง
(14) พุชฌิตวา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชานัง
พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง
(15) โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณินัง
โธตะเกลสัง มะหาปุญญัง โธตาสะวัง นะมามิหัง
(16) วิเวเจติ อะสัทธัมมา วิจิตวา ธัมมะเทสะนัง
วิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง
(17) ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต
ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติมุตตัง นะมามิหัง
(18) จะเยติ ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง
จะชันตัง ปาปะกัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง
(19) ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตา โลกะสัมปะทา
ระชะโทสาทิเกลเสหิ ระหิตันตัง นะมามิหัง
(20) นะมิโตเยวะ พรัหเมหิ นะระเทเวหิ สัพพะทา
นะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง
(21) สังขาเร ติวิเธ โลเก สัญชานาติ อะนิจจะโต
สัมมา นิพพานะสัมปัตติ สัมปันโน ตัง นะมามิหัง
(22) ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก
ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง
(23) โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะ ปาปัง อะการะยิ
โน สะโม อัตถิ ปัญญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง
(24) สุนทะโร วะระรูเปนะ สุสะโร ธัมมะภาสะเน
สุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง
(25) คัจฉันโต โลกิยา ธัมมา คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง
คะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตัญญาณัง นะมามิหัง
(26) โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร
โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตสะจิตตัง นะมามิหัง
(27) โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร
โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง
(28) กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัตวา ทุกขักขะยัง ชิโน
กะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถะสัณหัง นะมามิหัง
(29) วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสตวา ตะโย ภะเว
วิเสสัญญาณะสัมปันโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง
(30) ทูเส สัตเต ปะกาเสนโต ทูรัฏฐาเน ปะกาเสติ
ทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหันตัง นะมามิหัง
(31) อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทิปะทุตตะโม
อะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง
(32) นุเทติ ราคะจิตตานิ นุทาเปติ ปะรัง ชะนัง
นุนะ อัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง
(33) ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง
ตัณหายะ วิจะรันตานัง ตัณหาฆาฏัง นะมามิหัง
(34) โรเสนเต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กุชฌะติ
โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะหันตัง นะมามิหัง
(35) ปุณันตัง อัตตะโน ปาปัง ปุเรนตัง ทะสะปารมี
ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง
(36) ริปุราคาทิภูตัง วะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ
ริตติ กัมมัง น กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง
(37) สัมปันโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะวะโร ชิโน
สยัมภูญาณะสัมปันโน สัณหะวาจัง นะมามิหัง
(38) ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิตวา สะเทวะกัง
ทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินทะริยัง นะมามิหัง
(39) มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ
มะหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทโธ นะมามิหัง
(40) สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทัง
สาระถี วิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง
(41) รัมมะตาริยะสัทธัมเม รัมมาเปติ สะสาวะกัง
รัมเม ฐาเน วะสาเปนตัง อะระหันตัง นะมามิหัง
(42) ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก
ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตัง ธัมเม นะมามิหัง
(43) สัทธัมมัง เทสะยิตวานะ สัจจะนิพพานะปาปะกัง
สะสาวะกัง สะมาหิตัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง
(44) ถานัง นิพพานะสังขาตัง ถาเมนาธิคะโต มุนิ
ถาเน สัคคะสิเว สัตเต ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง
(45) เทนโต โย สัตตะนิพพานัง เทวะมะนุสสะปาณินัง
เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะเสฏฐัง นะมามิหัง
(46) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง
วันทิตัง เทวะพรัหเมหิ วะรัง พุทธัง นะมามิหัง
(47) มะหะตา วิริเยนาปิ มะหันตัง ปาระมิง อะกา
มะนุสสะเทวะพรัหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง
(48) นุนะธัมมัง ปะกาเสนโต นุทะนัตถายะ ปาปะกัง
นุนะ ทุกขาธิปันนานัง นุทาปิตัง นะมามิหัง
(49) สาวะกานังนุสาเสติ สาระธัมเม จะ ปาณินัง
สาระธัมมัง มะนุสสานัง สาสิตันตัง นะมามิหัง
(50) นันทันโต วะระสัทธัมเม นันทาเปติ มะหามุนิ
นันทะภูเตหิ เทเวหิ นันทะนียัง นะมามิหัง
(51) พุชฌิตาริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกัง
พุทธะญาเณหิ สัมปันนัง พุทธัง สัมมา นะมามิหัง
(52) โธวิตัพพัง มะหาวีโร โธวันโต มะละมัตตะโน
โธวิโต ปาณินัง ปาปัง โธตะเกลสัง นะมามิหัง
(53) ภะยะมาปันนะสัตตานัง ภะยัง หาเปติ นายะโก
ภะเว สัพเพ อะติกกันโต ภะคะวันตัง นะมามิหัง
(54) คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะตัญญาเณนะ ปาณินัง
คะหะณิยัง วะรัง ธัมมัง คัณหาเปนตัง นะมามิหัง
(55) วาปิตัง ปะวะรัง ธัมมัง วานะโมกขายะ ภิกขุนัง
วาสิตัง ปะวะเร ธัมเม วานะหันตัง นะมามิหัง
(56) ติณโณ โย สัพพะปาเปหิ ติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต
ติเร นิพพานะสังขาเต ติกขะญาณัง นะมามิหัง
(57) ฉัปปัญญาสะ พุทธะคาถา พุทธะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
(ต่อ)
พระธรรมคุณ 38
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ
(1) สะวาคะตันตัง สิวัง รัมมัง สะวานะยัง ธัมมะเทสิตัง
สะวาหุเนยยัง ปุญญักเขตตัง สะวาสะภันตัง นะมามิหัง
(2) ขาทันโต โย สัพพปาปัง ขายิโต โย จะ มาธุโร
ขายันตัง ติวิธัง โลกัง ขายิตันตัง นะมามิหัง
(3) โตเสนโต สัพพะสัตตานัง โตเสติ ธัมมะเทสะนัง
โตสะจิตตัง สะมิชฌันตัง โตสิตันตัง นะมามิหัง
(4) ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห อะนุตตะโร
ภัคคะกิเลสะสัตตานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง
(5) คัจฉันโต รัมมะเก สิเว คะมาปิโต สะเทวะเก
คัจฉันเต พรัหมะจะริเย คัจฉันตันตัง นะมามิหัง
(6) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง วันตะปาปะกัง
วันตัง พาละมิจฉาทีนัง วันตะคันถัง นะมามิหัง
(7) ตาเรสิ สัพพะสัตตานัง ตาเรสิ โอริมัง ติรัง
ตาเรนตัง โอฆะสังสารัง ตาเรนตันตัง นะมามิหัง
(8) ธะระมาเนปิ สัมพุทเธ ธัมมัง เทสัง นิรันตะรัง
ธะเรติ อะมะตัง ฐานัง ธาเรนตันตัง นะมามิหัง
(9) โมหัญเญ ทะมันโต สัตเต โมหะชิเต อะการะยิ
โมหะชาเต ธัมมะจารี โมหะชิตัง นะมามิหัง
(10) สัพพะสัตตะตะโมนุโท สัพพะโสกะวินาสะโก
สัพพะสัตตะหิตักกะโร สัพพะสันตัง นะมามิหัง
(11) ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปัตโต ทิฏฐิกังขาทะโย ลุโต
ทิฏเฐ ทะวาสัฏฐิ ฉินทันโต ทิฏฐะธัมมัง นะมามิหัง
(12) ฐิติสีละสะมาจาเร ฐิติเตวะสะธุตังคะเก
ฐิติธัมเม ปะติฏฐาติ ฐิติปะทัง นะมามิหัง
(13) โกกานัง ราคัง ปิเฬติ โกโธปิ ปะฏิหัญญะติ
โกกานัง ปูชิโต โลเก โกกานันตัง นะมามิหัง
(14) อัคโค เสฏโฐ วะระธัมโม อัคคะปัญโญ ปะพุชฌะติ
อัคคัง ธัมมัง สุนิปุณัง อัคคันตังวะ นะมามิหัง
(15) กาเรนโต โย สิวัง รัชชัง กาเรติ ธัมมะจาริเย
กาตัพพะสุสิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหัง
(16) ลิโต โย สัพพะทุกขานิ ลิขิโต ปิฏะกัตตะเย
ลิมปิเตปิ สุวัณเณนะ ลิตันตังปิ นะมามิหัง
(17) โก สะทิโสวะ ธัมเมนะ โก ธัมมัง อะภิปูชะยิ
โก วินทะติ ธัมมะระสัง โกสะลันตัง นะมามิหัง
(18) เอสะติ พุทธะวะจะนัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง
เอสะติ สัคคะโมกขัญจะ เอสะนันตัง นะมามิหัง
(19) หิเน ฐาเน นะ ชายันเต หิเน โถเมติ สุคะติง
หิเน โมหะสะมัง ชาลัง หินันตังปิ นะมามิหัง
(20) ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก
ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
(21) สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ สีละธัมมัง นะมามิหัง
(22) โก โส อัคคะปุญโญ พุทโธ โกธะชะหัง อะธิคัจฉะติ
โก ธัมมัญจะ วิชานาติ โกธะวันตัง นะมามิหัง
(23) โอภะโต สัพพะกิเลสัง โอภัญชิโต สัพพาสะวัง
โอภะโต ทิฏฐิชาลัญจะ โอภะตัง ตัง นะมามิหัง
(24) ปัญญา ปะสัฏฐา โลกัสมิง ปัญญา นิพเพธะคามินี
ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
(25) นะรานะระหิตัง ธัมมัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง
นะรานัง กามะปังเกหิ นิมิตันตัง นะมามิหัง
(26) ยิชชะเต สัพพะสัตตานัง ยิชชะเต เทวะพรัหมุนี
ยิชชิสสะเต จะ ปาณีหิ ยิฏฐันตัมปิ นะมามิหัง
(27) โกปัง ชะหะติ ปาปะกัง โกธะโกธัญจะ นาสะติ
โกธัง ชะเหติ ธัมเมนะ โกธะนุทัง นะมามิหัง
(28) ปะปัญจาภิระตา ปะชา ปะชะหิตา ปาปะกา จะโย
ปัปโปติ โสติวิปุโล ปัชโชตันตัง นะมามิหัง
(29) จะริตวา พรัหมะจะริยัง จัตตาสะโว วิสุชฌะติ
จะชาเปนตังวะ ทาเนนะ จะชันตันตัง นะมามิหัง
(30) ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ สัพพะวิริยัง
ตะโนติ สีละสะมาธิง ตะนันตังวะ นะมามิหัง
(31) เวรานิปิ นะ พันธันติ เวรัง เตสูปะสัมมะติ
เวรัง เวเรนะ เวรานิ เวระสันตัง นะมามิหัง
(32) ทีฆายุโก พะหูปุญโญ ทีฆะรัตตัง มะหัพพะโล
ทีฆะสุเขนะ ปุญเญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหัง
(33) ตะโต ทุกขา ปะมุญจันโต ตะโต โมเจติ ปาณิโน
ตะโต ราคาทิเกลเสหิ ตะโต โมกขัง นะมามิหัง
(34) โพธิ วิชชา อุปาคะมิ โพเธติ มัคคะผะลานิ จะ
โพธิยา สัพพะธัมมานัง โพธิยันตัง นะมามิหัง
(35) วิระติ สัพพะทุกขัสมา วิริเยเนวะ ทุลละภา
วิริยาตาปะสัมปันนา วิระตันตัง นะมามิหัง
(36) ญูตัญญาเณหิ สัมปันนัง ญูตะโยคัง สะมัปปิตัง
ญูตัญญาณะทัสสะนัญจะ ญูตะโยคัง นะมามิหัง
(37) หีสันติ วัพพะโทสานิ หีสันติ สัพพะภะยานิ จะ
หีสะโมหา ปะฏิสสะตา หีสันตันตัง นะมามิหัง
(38) ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง
(39) อัฏฐัตติงสะ ธัมมะคาถา ธัมมะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
(ต่อ)
พระสังฆคุณ 14
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(1) สุทธะสีเลนะ สัมปันโน สุฏฐุ โย ปะฏิปันนะโก
สุนทะโร สาสะนะกะโร สุนทะรันตัง นะมามิหัง
(2) ปะฏิสัมภิทัปปัตโต โย ปะสัฏโฐ วะ อะนุตตะโร
ปัญญายะ อุตตะโร โลเก ปะสัฏฐันตัง นะมามิหัง
(3) ติตถะกะระชิโต สังโฆ ติตโถ ธีโรวะ สาสะเน
ติตถิโย พุทธะวะจะเน ติตถันตังปิ นะมามิหัง
(4) ปะสัฏโฐ ธัมมะคัมภีโร ปัญญะวา จะ อะวังกะโค
ปัสสันโต อัตถะธัมมัญจะ ปะสัฏฐังปิ นะมามิหัง
(5) โน เจติ กุสะลัง กัมมัง โน จะ ปาปัง อะการะยิ
โนนะตัง พุชฌะตัง ธัมมัง โนทิสันตัง นะมามิหัง
(6) ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห จะ ปาณินัง
ภัญชะโก สัพพะเกลสานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง
(7) คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต โลกุตตะรัมปิจะ
คะโตเยวะ กิเลเสหิ คะมิตันตัง นะมามิหัง
(8) วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติ สีละสัมปะทัง
วัณเณติ สีละรักขิตัง วัณณิตันตัง นะมามิหัง
(9) โตเสนโต เทวะมานุสเส โตเสนโต ธัมมะมะเทสะยิ
โตเสติ ทุฏฐะจิตเตปิ โตเสนตันตัง นะมามิหัง
(10) สาสะนัง สัมปะฏิจฉันโน สาสันโต สิวะคามินัง
สาสะนะมะนุสาสันโต สาสันตันตัง นะมามิหัง
(11) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง สุทิฏฐิกัง
วันตัญจะ สัพพะปาปานิ วันตะเกลสัง นะมามิหัง
(12) กะโรนโต สีละสะมาธิง กะโรนโต สาระมัตตะโน
กะโรนโต กัมมะฐานานิ กะโรนตันตัง นะมามิหัง
(13) สังสาเร สังสะรันตานัง สังสาระโต วิมุจจิ โส
สังสาระทุกขา โมเจสิ สังสุทธันตัง นะมามิหัง
(14) โฆระทุกขักขะยัง กัตวา โฆสาเปติ สุรัง นะรัง
โฆสะยิ ปิฏะกัตตะยัง โฆสะกันตัง นะมามิหัง
(15) จะตุททะสะ สังฆะคาถา สังฆะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
ฉัปปัญญาสะ พุทธะคุณา ธัมมะคุณา อัฏฐะติงสะติ
สังฆะคุณา จะตุททะสะ อัฏฐุตตะระสะเต อิเม
ทิเน ทิเน สะระเตปิ โสตถี โหนติ นิรันตะรันติ
(จบ)
อานุภาพแห่งรัตนมาลา
(1) - อิ จงหมั่นภาวนา ป้องกันศัสตรา ห่อนต้องอินทรีย์ ทำให้แคล้วคลาด
นิราศไพรี สิริย่อมมี แก่ผู้ภาวนา
(2) - ติ ถึงบทนี้ไซร้ หมั่นภาวนาไว้ กันภัยนานา ภูตผีปีศาจ มิอาจเข้ามา
ทั้งปอปทั้งห่า ไม่มาหลอกหลอน
(3) - ปิ ภาวนานึก สติตรองตรึก อย่าทำใจร้อน สารพัดเมตตา อย่าได้อาวรณ์
ครูแต่เก่าก่อน เคยได้ใช้มา
(4) - โส ภาวนาทุกวัน ตามกำลังวัน ป้องกันอันตราย ทุกข์ภัยพิบัติ สารพัดเหล่าร้าย
ศัตรูทั้งหลาย แคล้วคลาดห่างไกล
(5) - ภะ จงภาวนา กันโรคโรคา ไข้เจ็บทั้งหลาย ศัตรูมุ่งมาด มิอาจทำได้ พินาศยับไป
ด้วยพระคาถา
(6) - คะ ถ้าหมั่นภาวนา โรคภัยโรคา ไม่มาย่ำยี จะค่อยบรรเทา หากโรคเก่ามี
มิช้ากายี สิ้นทุกข์สุขา
(7) - วา บทนี้ดีล้ำ ภาวนาซ้ำๆ ป้องกันศัตรู เหล่าโจรอาธรรม์ พากันหนีอู้ ไม่คิดต่อสู้
ออกได้หายไป
(8) - อะ ให้ภาวนา กันเสือช้างมา ทำร้ายรบกวน เป็นมหาจังงัง สิ้นทั้งชบวน
จระเข้ประมวล สัตว์ร้ายนานา
(9) - ระ ภาวนาไว้ คุณคนคุณไสย สารพัดพาลา ใช้ป้องกันได้ มิให้เข้ามา
ถูกต้องกายา พินาศสูญไป
(10) - หัง ให้ภาวนา ในเมื่อเวลา เข้าสู่สงคราม ข้าศึกศัตรู ใจหู่ครั่นคร้าม
ไม่คิดพยายาม ทำร้ายเราแล
(11) - สัม ภาวนาตรึก ช่างดีพิลึก ท่านให้รำพัน เมื่อจะเข้าสู่ เหล่าศัตรูสรรพ์
หมดสิ้นด้วยกัน พ่ายแพ้ฤทธี
(12) - มา ภาวนาไว้ ถ้าหมั่นเสกไซร้ ทุกวันยิ่งดี แก้คนใจแข็ง มานะแรงมี
ใจอ่อนทันที ไม่เย่อไม่หยิ่ง
(13) - สัม สำหรับบทนี้ ตำรับกล่าวชี้ ว่าดีจริงจริง สำหรับเสกยา ปัญญาดียิ่ง
สุดจะหาสิ่ง ใดมาเปรียบปาน
(14) - พุท ภาวนาไป เสนียดจัญไร มิได้พ้องพาน อุปสรรคไรไร ก็ไม่คะคาน
แสนจะสำราญ ให้หมั่นภาวนา
(15) - โธ ภาวนาไว้ กันเสือช้างได้ ทั้งสุนัขหมา ใช้ป้องกันภัย สัตว์ร้ายนานา
ไม่อาจเข้ามา ย่ำยีบีทา
(16) - วิช สำหรับบทนี้ คุณาย่อมมี อดิเรกนานา กับพวกศัตรู เหล่าหมู่พาลา
ไม่อาจเข้ามา หลบหน้าหนีไป
(17) - ชา ภาวนากัน คุณไสยอนันต์ ทำมามิได้ จงหมั่นภาวนา อย่าได้สงสัย
อาจารย์กล่าวไว้ ดังได้อ้างมา
(18) - จะ บทนี้ดีล้น เสกทำน้ำมนต์ รดเกล้ากายา เสกมะกรูดส้มป่อย
ถ้อยความมีมา ใข้สระเกศา ถ้อยความสูญไป
(19) - ระ ภาวนานั้น ศัตรูอาธรรพ์ สรรพโพยภัย กันได้หลายอย่าง ทั้งเสนียดจัญไร
ภาวนาไว อย่าได้กังขา
(20) - ณะ บทนี้บทเอก มีคุณเอนก สุดจะพรรณนา ระงับดับโศก กันโรคผีห่า
อันจะมาคร่า ชนมายุไป
(21) - สัม สำหรับบทนี้ ท่านอาจารย์ชี้ แนะนำกล่าวไว้ ใช้เป็นเสน่ห์ สมคะเนดังใจ
อย่าได้สงสัย ดียิ่งนักหนา
(22) - ปัน บทนี้สามารถ กันภูติปีศาจ ไม่อาจเข้ามา หลอกหลอนเราได้ ท่านใช้ภาวนา
จงได้อุตส่า ท่องให้ขึ้นใจ
(23) - โน บทนี้ภาวนา ป้องกันฟ้าผ่า และช้างม้าร้าย มีจิตจำนง ประสงค์สิ่งใด
ลงของก็ได้ ใช้ตามปรารถนา
(24) - สุ ภาวนากัน คุณว่านยาอัน เขากระทำมา กับทั้งอาวุธ และเครื่องศัสตรา
แม้ถูกกายา ก็มิเป็นไร
อนึ่ง ถ้าแม้นว่า มีความปรารถนา บังคับเขาให้ อยู่ในโอวาท อนุศาสน์ไรไร
ภาวนาเรื่อยไป เขาจะเกรงกลัว
(25) - คะ ให้ทำน้ำมนตร์ บริกรรมพร่ำบ่น อย่าได้เมามัว ประพรมสินค้า จงอย่ายิ้มหัว
กำไรเกินตัว อย่ากลัวขาดทุน
(26) - โต ภาวนาเสก มีคุณอย่างเอก เข้าหาเจ้าขุน มูลนายพระยา เมตตาอุดหนุน
โปรดปรานการุณย์ เพราะคุณคาถา
(27) - โล ภาวนาเป่า ศัตรูทุกเหล่า แม้กริ้วโกรธา แต่พอได้เห็น เอ็นดูเมตตา
ปรานีนักหนา ดุจญาติของตน
(28) - กะ เอาข้าวสารมา แล้วภาวนา เสกให้หลายหน เสร็จแล้วซัดไป ไล่ผีบัดดล
หนีไปไกลพ้น ไม่มาราวี
(29) - วิ เสกขมิ้นและว่าน เสกข้าวรับประทาน อยู่คงอย่างดี อีกอย่างหนึ่งไซร้
ใช้ไล่ขับผี ภูตพรายไม่มี สิงสู่กายา
(30) - ทู ภาวนาบทนี้ เมตตาปรานี ไม่มีโทสา หญิงชายทั้งหลาย รักใคร่หนักหนา
ห่างภัยนานา สิ้นทุกข์สุขใส
(31) - อะ จงหมั่นตรองตรึก มั่นพินิจนึก ภาวนาไป ศัตรูเห็นหน้า เมตตารักใคร่
ภาวนาไว้ เป็นศุภมงคล
(32) - นุต บทนี้ดีเหลือ ให้ใช้ในเมื่อ ถึงความอับจน ป้องกันผู้ร้าย โรคภัยเบียดตน
พินาศปี้ป่น ไม่ทนรบกวน
(33) - ตะ ภาวนาเสก ปลุกตัวและเลข ว่านยาทั้งมวล อนึ่งใช้เสก เครื่องคาดก็ควร
เมื่อรณศึกล้วน เป็นสิริมงคล
(34) - โร ภาวนาใช้ ในยามครรไล จากด้าวถิ่นตน ทั้งใช้ปลุกเสก ซึ่งเครื่องคงทน
อย่าได้ฉงน แก้กันสรรพภัย
(35) - ปุ บทนี้ศักดิ์สิทธิ์ ภาวนากันพิษ สัตว์ร้ายทั้งหลาย ตะขาบแมลงป่อง
หากต้องเหล็กใน จงภาวนาไป พิษห่างบางเบา
(36) - ริ บทนี้ภาวนา รุ่งเรืองเดชา อำนาจแก่เรา ทั้งหญิงและชาย พอได้เห็นเข้า
ครั่นคร้ามไม่เบา เมื่อเข้าสมาคม
(37) - สะ ภาวนาทุกวัน หมู่เทพเทวัญ ชวนกันระดม พิทักษ์รักษา โดยเจตนารมณ์
มิให้ระทม เดือดเนื้อร้อนใจ
(38) - ทัม บทนี้ภาวนา สำหรับเสกผ้า โพกเศียรครรไล เจริญราศี สวัสดีมีชัย
เสกเจ็ดทีไซร้ แปลงรูปบัดดล
(39) - มะ อาจารย์กล่าวไว้ ให้เสกดอกไม้ ทัดหูของตน มีสง่าราศี สวัสดีมงคล
เสน่ห์เลิศล้น แก่คนทั่วไป
(40) - สา ภาวนาให้มั่น กันฝังอาถรรพ์ เวทมนตร์ทั้งหลาย อีกกันกระทำ มิให้ต้องกาย
อีกอาวุธร้าย เมื่อเข้ารณรงค์
(41) - ระ ใช้ภาวนา ป้องกันสัตว์ร้าย เสือช้างกลางดง ทั้งควายและวัว กระทิงตัวยุ่ง
ไม่กล้าอาจอง ตรงเข้าราวี
(42) - ถิ บทนี้กล้าหาญ เสกข้าวรับประทาน คงกระพันชาตรี ศัตรูหมู่ร้าย ไม่กล้าราวี
เป็นสง่าราศี ไม่มีศัตรู
(43) - สัต เมื่อจะใส่ยา จงได้ภาวนา ตามคำของครู ป้องกันโจรร้าย ไม่มีศัตรู
ที่จะมาขู่ ข่มเหงน้ำใจ
(44) - ถา ภาวนานึก เมื่อจะออกศึก สงครามใดใด แคล้วคลาดศัสตรา ไม่มาต้องได้
คุ้มครองกันภัย ได้ดีนักหนา
(45) - เท บทนี้ก็เอก สำหรับใช้เสก ธูปเทียนบุปผา บูชาเทพเจ้า พุทธธรรมสังฆา
จะมีสง่า ราศีผ่องใส
(46) - วะ บทนี้ยิ่งดี ใช้เสกมาลี สิบเก้าคาบไซร้ เอามาทัดหู คนดูรักใคร่ บูชาพระไซร้
ย่อมเป็นมงคล
(47) - มะ เมื่อลงนาวา ขับขี่ช้างม้า ยาตราจราดล หรือขึ้นเรือนใหม่ อย่าได้ฉงน
เสกสิบเก้าหน จะมีเดชา
(48) - นุส ภาวนาบ่น ประเสริฐเลิศล้น อย่าได้กังขา ชนช้างก็ดี หรือขี่อาชา
มีเดชแกล้วกล้า ไชยาสวัสดี
(49) - สา บทนี้ดีมาก เมื่อจะกินหมาก เสกสิบเจ็ดที ทั้งแป้งน้ำมัน จวงจันทร์มาลี
ทัดกรรณ์ก็ดี มีเสน่ห์ยิ่งยง
(50) - นัง บทนี้เลิศล้ำ เสกลูกประคำ สังวาลย์สวมองค์ ตะกรุดพิสมร สิบเก้าคาบตรง
มีเดชมั่นคง ราศีผ่องใส
(51) - พุท ภาวนาบทนี้ เมื่อจะจรลี สู่บ้านเมืองไกล ป้องกันสรรพเหตุ ภัยเภทใดใด
มีคุณยิ่งใหญ่ แก่ผู้ภาวนา
(52) - โธ บทนี้เป็นเอก สำหรับปลุกเสก เครื่องรางนานา ประสิทธิ์ทุกอย่าง อีกทั้งเงินตรา
จงเสกอย่าช้า เจ็ดทีบันดาล
(53) - ภะ บทนี้ดีล้นค่า ใช้เสกศัสตรา อาวุธคู่ตน นิราศผองภัย ไม่ต้องสกนธ์
เสกสิบเก้าหน ตนจะอาจหาญ
(54) - คะ บทนี้ภาวนา เมื่อจะเข้าหา สมณาจารย์ ท่านมีเมตตา กรุณาสงสาร
ล้วนมงคลการ ประเสริฐเลิศล้น
(55) - วา เข้าหาขุนนาง แม้ใจกระด้าง โอนอ่อนบัดดล จงได้ภาวนา ท่านเมตตาตน
กรุณาล้นพ้น อย่าแหนงแคลงใจ
(56) - ติ ภาวนาบทนี้ เหมือนดังมณี หาค่ามิได้ เจริญทุกวัน ป้องกันโรคภัย
ทุกข์โศกกษัย สูญหายสิ้นเอย
อิติปิโสคุ้มแก้ว เดินหน้า ถอยหลัง
1.อะระหัง อะระหัง
2.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ - สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
3.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน -วิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
4.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต - สุคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
5.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู - โลกะวิทู สุคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
6.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ - อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ โลกะวิทูสุคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
7.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง - สัตถา เทวะมะนุสสานังอะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ โลกะวิทู สุคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธอะระหัง
8.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ - พุทโธ สัตถาเทวะมะนุสสานัง อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ โลกะวิทู สุคะโต วิชชาจะระณะสัมปันโนสัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
9.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา - ภะคะวาพุทโธ สัตถา เทวะมะนุสสานัง อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ โลกะวิทู สุคะโตวิชชาจะระณะสัมปันโน สัมมาสัมพุทโธ อะระหัง
***อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโนสุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธภะคะวา***
พระคาถาอิติปิโสสร้อยสน
๑.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
๒.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง วิชชาจะระณะสัมปัณโณ
๓.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง สุคะโต
๔.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง โลกะวิทู
๕.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง อะนุตตะโร
๖.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง ปุริสะทัมมะสาระถิ
๗.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง สัตถาเทวะมะนุสสานัง
๘.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง พุทโธ
๙.โสภะคะวา อิติปิอะระหัง ภะคะวาติ
จักกล่าวอุปโท พระอิติปิโสสร้อยสนโดยย่อ
บทต้น ชื่อกระต่ายแฝงคอ ไปสงครามพึงพอ บริกรรมพร่ำต่อ ๑๗คาบ แล้วให้ภาวนาแม้นมาตรว่าปืนยิงมา บ่ถูกกายา ปลายเส้นเกศาโลมานั้นบ่ได้ชดเชย
บทสอง ชื่อฝนแสนห่ารำเพย แม้นต้องขื่อคาท่านเอ๋ยสะเดาะ ๑๓ คาบโดยหมาย โซ่ตรวนขื่อคากระจาย ทะลักทะลายด้วยเดชะพระพุทธมนต์
บทสาม ชื่อกลิ่นไตรภพจบสกล ยามเมื่อเดินหนประจัญหนามขวากอาดูร ให้ชุบ ๑๕ คาบโดยตรา ถ้าเข็บแมลงป่องหิงสาปลาดุกแสยงกล้า ให้ชุบ ๘ คาบโดยหมาย ถ้าทำเสน่ห์หญิงชาย เอาแป้งน้ำมันหอมโดยหมาย สามเจ้ามาทำโดยมี ๗ คาบทาที่เข้ามาชมเชย ย่อมเป็นเสน่หาท่านเอ๋ย บ่ได้ละเลย ชมเชยเสน่หาอาลัย
บทสี่ ท่านกล่าวไว้ใหม่ ชื่อว่าการใหญ่จะไปรบศึกโดยตรา ให้ชุบด้วยพระคาถา ๑๗ คาบมาได้โดยดังใจถวิล ร่ายมนต์พ่นไปไขว้ขวินแล่นแยกแตกไปสิ้นไพรี หนึ่งเล่าชุบตัวให้ใหญ่เรี่ยวแรงแข็งดี เอาขมิ้นอ้อยโดยมี มาเสกตามกำลังวัน ๑๖ คาบใหญ่โตมหันต์ ครั้นแล้วจึงกลั้นใจฝนทา ทั่วตัวตนเหมือนหนึ่งกล่าวไว้โดยตรา รูปร่างใหญ่โตหนักหนา คนเห็นตกประหม่า ข้าศึกสยดสยองขน>
บทห้า ชื่อกระทู้ ๗ แบกฤทธิรณ ทิ้งขว้างกลางหนบ่ต้องกายาหม่นหมอง ท่านให้ชุบ ๓๒ คาบแล้วโดยปอง ลงในน้ำโดยตราให้เอาไม้แทงกายา คลาดเส้นเกศาบ่หวาดไหวกายี มูลนายขึ้งโกรธแสนทวี จะเอาไปทุบตี จำจองเฆี่ยนขับสารพัน เจ้านายให้ฆ่าฟัน เสกแป้งน้ำมัน ๙ คาบแล้วทาอาตมา เห็นหน้าหายความโกรธา ทำเสน่ห์นั้นหนา ให้เอาหมากมาที่บนทะลายโดยจง ทำเป็นแมลงภู่แล้วลงชื่ออันประสงค์ ในปีกแมลงภู่อย่าคลา ท่านให้ชุบด้วยพระคาถา ๑๗ คาบนา ปล่อยแมลงภู่ไปโดยประสงค์ ถ้าแม้นมิมาหาโดยตรง คลั่งคลาบ้าหลง ถึงเจ้าแมลงภู่พิศวาส
บทหกชื่อกลืนอากาศ ฤทธาสามารถ ถ้าจะดำผุดล่องหน สำนึกถึงเพทอากาศไพชยนต์ เอาขมิ้นมาฝนแล้วชุบถ้วน ๓๒ คาบแล้วให้ได้ดังใจปองอย่าได้เศร้าหมองทาตัวให้ทั่วอินทรีย์ ถ้าว่าเล่นมวยปล้ำดี ให้ระงับอินทรีย์ชุบ ๑๔ คาบอย่าครา ท่านให้กำกราบกายา สุขจิตจินดา ให้ตั้งปรารถนานึกกระสัน ถ้าเขาหาความเรานั้นเอาขี้ผึ้งอันหนัก ๖ บาทอย่านาน เอากระดาษลงชื่อคนพาล เป็นใส่เทียนฐาน ตามถวายพระห้ามมารด้วยดี แล้วนั่งภาวนาตามที่ตามอาจารย์จนสิ้น
เทียนอย่าคลายแล้วเอาผงเทียนนี้ไว้ ขย้ำน้ำโดยหมาย ถ้อยความสูญหายบ่มินาน
บทเจ็ด ชื่อปราบจักวาล ตามคำอาจารย์ จักเล่นพนันขันตี ให้ชุบมนต์นี้ ๓๒ คาบโดยมี แล้วให้เสกซ้ำน้ำมัน ๓๐ ทีแล้วด้วยพลันทาทั่วกายา เล่นปล้ำตีเถิดนา บ่ได้เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า เป็นสวัสสัตถาไชยา มูลนายขึ้งโกรธโทษทัณฑ์ จะให้หายโกรธนั้นจึงเอาน้ำมันมา ๓๗ คาบเสกด้วยคาถา แล้วใส่เกศาประไปให้ทั่วกายี ครั้งท่านเห็นหน้ายินดี รักดิ้นสิ้นดี คือบุตรอุทรเกิดกาย ถ้าจะทำเสน่ห์หญิงชาย เอาขมิ้นมาหมาย ฝนเสก ๑๒ คาบทาตัวโดยปอง ไปในบ้านช่องหญิงเห็นชอบใจนารี หญิงชายในบ้านทั้งนี้รักดิ้นสิ้นดี งวยงงหลงใหลหายเดือดดาน เอาใบมะขามมาอย่านานกำหนึ่งประมาณ เสก ๒๗ คาบพลันทันใจสำเร็จเป็นหุ่นเหาะระเห็จและคนธรรพ์ทันใด ถ้าจะใช้สิ่งอันใดทำการอะไรก็ได้เสร็จสิ้นทุกอัน ถ้าจะให้สู้รบขยันทำได้ทุกอัน รบพุ่งแข็งขันฟันแทงประเสริฐฤทธิล้ำซ้ำแข็ง เอาไมทำรูปเสือแดง ฤทธิล้ำซ้ำแข็ง ชุบด้วยมนต์ปราบจักวาล ๓๗ คาบประมาณ ตามคำอาจารย์เสร็จแล้วจึงให้ปล่อยไป ฤทธากล้าหาญชาญชัย พ่วงพีโตใหญ่ สีหนาทคำรน>
บทแปด ชื่อสูบสมุทรอลวล ให้ข้าศึกสยองขน เอาปฐพีดลมาเสก ๒๘ คาบด้วยใจ ดินนั้นกลับกลายทันใด เป็นต่อแตนไปไล่ข้าศึกแตกหนี ถ้าจักประดาน้ำวารี ให้แห้งเหือดดี เอาหวายตะค้าขนาดตีคน มาลงคาถาสถาผล สูบสมุทรประจญ ชุบด้วยพระมนต์ ๑๗ คาบงามตามมี เอาหวายนั้นฟาดตี สาครชลธีนั้นก็แห้งเหือดหาย
บทเก้า ชื่อสมุทรเกลื่อนกระจาย อาจารย์ว่าไว้ แม้นว่าถ้าปรารถนาบ้านเมือง อย่าได้แค้นเคือง เอาถั่วเขียวมาประมาณให้ได้กำมือ เสกคาถานี้คือสมุทรเกลื่อนฤๅ ให้ได้ ๑๐๘ คาบโดยหมายเอาถั่วนั้นโปรยปราย ในเมืองทั้งหลาย ก็ยกเมืองให้แก่เรา
อิติปิโสหูช้าง
พุทโธ อิติปิโสภะคะวา พุทโธภะคะวาติ อิติปิโสภะคะวา อรหังอิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทธ
อิติปิโสถอด
อิปิภะวาระสัมสัมโธ
ชาระสัมโนคะโลวิอะ
ตะปุสะมะระสัตเทมะ
สาพุทภะวาติคะโธนัง
นุสวะถะถิสาทัมริโร
นุตทูกะโตสุปัน
ณะจะวิพุท
มาหังอะคะโสติ
พระคาถาอิติปิโสถอดนี้ มีคุณอันมาก เมื่อภาวนาเข้านอน3ที สารพัดศัตรูทำร้ายมิได้เลย ถ้าภาวงนาเช้าที1 หัวค่ำที1 เที่ยงคืนที1 บุคคลผู้นั้นอยู่มิรู้อดอาหารเลย เป็นสวัสดีมงคลแก่ผู้นั้นอยู่สุขสำราญแล อายุยืนได้84000ปี เมื่อเข้านอน ปลุกหมอนทุกวัน ศัตรูทำร้ายเรามิได้เลย บังเอิญให้รู้สึกตัวก่อน ให้เสกน้ำล้างหน้าทุกวัน กันเสนียดจัญไร คุ้มผีชมบ 12 จำพวก กันได้สารพัด เสกข้าวกินทุกวันถึงสามเดือน คงถึง7ปี คงจนกระดูกเผาไปมิไหม้ ถ้าจะให้คงทั้งเรือนเอาดินสอพองมาทำเป็นผงเสกด้วยตนเอง 108 แล้วจึงใส่โอ่งข้าวสารเสกด้วยตนเอง108คาบ หญิงชายใดได้กินคงจนตายแล ให้ลงใส่แผ่นตะกั่วเสก108คาบใส่โอ่งน้ำกินคงทั้งเรือน กันคุณคนคุณผีทุกประการแล ถ้าถูกจองจำไว้ในคุกก็ดี ให้ภาวนาคาถานี้108คาบลุ่ยหลุดสิ้นแล ประตูก็เผยออก ถ้าแม้นมีช่องแต่เพียงมือก็ลอดไปได้แล
อิติปิโสพระเจ้า 5 พระองค์
อิติปิโส ภะคะวา นะ ศัตรูทั้งหลายเอ๋ย เจวะ พัทธะภัณฑัง วา ปิจังงัง วา โสภะคะปิอิ
อิติปิโส ภะคะวา โม ศัตรูทั้งหลายเอ๋ย เจวะ พัทธะภัณฑัง ปิจังงัง วา โสภะคิปิอิ
อิติปิโส ภะคะวา พุทธ์ ศัตรูทั้งหลายเอ๋ย เจวะ พัทธะภัณฑัง วา ปิจังงัง วา โสภะคะปิติอิ
อิติปิโส ภะคะวา ธา ศัตรูทั้งหลายเอ๋ย เจวะ พัทธะภัณฑัง วา ปิจังงัง วา โสภะคะปิติอิ
อิติปิโส ภะคะวา ยะ ศัตรูทั้งหลายเอ๋ย เจวะ พัทธะภัณฑัง วา นะจังงัง วา โสภะคะปิติอิ
เมื่ออยู่กลางดงเสือสิงห์กระทิงแรด
หมั่นภาวนาพระคาถานี้ ศัตรูไม่รบกวนเลย
อิติปิโสนพเคราะห์
(อาทิตย์) อิติปิโสภะคะวา พระอาทิตย์เทวา
วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ โมระปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (อะ วิช สุ นุต สา นุต ติ 6 จบ)
(จันทร์) อิติปิโสภะคะวา พระจันทร์เทวา
วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ อถัยยะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา 15 จบ)
(อังคาร) อิติปิโสภะคะวา พระอังคารเทวา
วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ กะระณียะเมตตาสุตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง 8 จบ)
(พุธ) อิติปิโสภะคะวา พระพุธเทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ โพชฌังคะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา
(ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท 17 จบ)
(เสาร์) อิติปิโสภะคะวา พระเสาร์เทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ อังคุลิมาละปะริตตังมังรักขันตุ สัพพะทา
(โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ 10 จบ)
(พฤหัสบดี) อิติปิโสภะคะวา พระพฤหัสบดีเทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ รัตตะนะสุตตัง อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ วัฏฏะกะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา
(ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ 19 จบ)
(ราหู) อิติปิโสภะคะวา พระราหูเทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ สุริยะจันทะพุทธะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา (คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ 12 จบ)
(ศุกร์) อิติปิโสภะคะวา พระศุกร์เทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ ธะชัคคะ สุตตัง อะระหัง สุคะโต ภะคะวา อาฏานาฏิยะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา
(วา โธ โน อะ มะ มะ วา 6 จบ)
(พระเกตุ) อิติปิโสภะคะวา พระเกตุเทวา วิญญาณะสัมปันโน โสธายะ ชะยะปะริตตังมัง รักขันตุ สัพพะทา
(อะระหัง สุคะโต ภะคภวา 6 จบ)
อิติปิโสนพเคราะห์ ใครเจริญภาวนาได้ตลอดชีวิตเป็นมหามงคลเพราะรวม กำลังพุทธคุณ บุญญานุภาพ พุทธปริตร บารมีเทพนพเคราะห์ และ วิชาศักดิ์สิทธิ์ เข้าด้วยกันเป็นการสะเดาะเคราะห์ เสริมดวงชะตา สิริมงคลชีวิตได้ดีมากเคราะห์ร้ายกลายเป็นดี เคราะห์ดีก็ดียิ่งขึ้นไป สวดแล้วภาวนาคาถาในวงเล็บ ตามกำลังวันจนครบทั้ง 9 องค์ ถ้าให้สมบูรณ์ ควรเจริญ วิชาธาตุศักดิ์สิทธิ์ พระคาถาอื่น และแพร่เมตตา ตามลำดับเป็นที่สุดซึ่งแบบสมบูรณ์นี้ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง นอกจากนั้นสวดทุกวันสวดเฉพาะบทอิติปิโสนพเคราะห์ 9 องค์ก็ยิ่งดี
พระคาถาอิติปิโสผิด
อิตินะ โมอิติ ปิวาพุท ธาภะโส ภะสะยะ ยะระคะ วาชาทา พุทโธอะ ระสะโม นะระหังฯ